ct154 - page 33

บทที่
2
ประวั
ติ
ศาสตร์
และวั
ฒนธรรมกลุ่
มชาติ
พั
นธุ์
ชอง
ในการศึ
กษาเรื่
องการสื
บทอดและร่
วมสานึ
กทางวั
ฒนธรรมการใช้
ทรั
พยากรท้
องถิ่
นของกลุ่
มชาติ
พั
นธุ์
ชอง อาเภอเขาคิ
ชฌกู
ฏ จั
งหวั
ดจั
นทบุ
รี
ในบทนี้
เป็
นการทาความเข้
าใจประวั
ติ
ศาสตร์
วั
ฒนธรรม
และพิ
ธี
กรรมของกลุ่
มชาติ
พั
นธุ์
ชอง ซึ่
งสะท้
อนให้
เห็
นถึ
งการใช้
ทรั
พยากรท้
องถิ่
นอย่
างรู้
คุ
ณค่
ขณะเดี
ยวกั
นบริ
บทการเปลี่
ยนแปลงโครงสร้
างเศรษฐกิ
จและสั
งคมที่
เกิ
ดขึ้
น ก็
ส่
งผลทาให้
วิ
ถี
ชี
วิ
ตและ
วั
ฒนธรรมต้
องมี
การปรั
บเปลี่
ยน เพื่
อใช้
เป็
นเครื่
องมื
อในการกาหนดตั
วตนความเป็
นคนชองให้
สอดคล้
อง
กั
บการเปลี่
ยนแปลงที่
เกิ
ดขึ้
น ซึ่
งอธิ
บายไว้
ดั
งนี้
1.
ลั
กษณะเด่
นกลุ่
มชาติ
พั
นธุ์
ชอง
ภู
มิ
ภาคตะวั
นออกของประเทศไทยมี
ความอุ
ดมสมบู
รณ์
ทางด้
านทรั
พยากรธรรมชาติ
มากมาย
เนื่
องจากลั
กษณะทางภาคตะวั
นออก ตั้
งแต่
ระยอง จั
นทบุ
รี
และตราด มี
สภาพเป็
นภู
เขาที่
หั
นหน้
าสู่
ทะเล ทั้
งเทื
อกเขาสระบาป เขาคิ
ชฌกู
ฎ เขาสอยดาว และเนิ
นเขาเล็
กๆ เชื่
อมติ
ดต่
อกั
น จนทาให้
เกิ
ดเป็
พื้
นที่
ราบระหว่
างเทื
อกเขา มี
สภาพเป็
นป่
าทึ
บติ
ดต่
อกั
น และสภาพภู
มิ
อากาศทางภาคตะวั
นออกที่
เป็
ทางผ่
านของลมมรสุ
มตะวั
นตกเฉี
ยงใต้
จึ
งทาให้
พื้
นที่
แถบนี้
มี
ฝนตกชุ
กเกื
อบตลอดทั้
งปี
(กรมพั
ฒนาที่
ดิ
น.
2537) ดั
งนั้
นบริ
เวณภาคตะวั
นออกจึ
งเป็
นพื้
นที่
ที่
มี
ความหลากหลายทางชี
วภาพ (Biodiversity) ที่
ประกอบด้
วยสภาพป่
าดงดิ
บชื้
น ป่
าดงดิ
บแล้
ง ป่
าเบญจพรรณ และป่
าเต็
งรั
ง มี
ทั้
งต้
นไม้
ใหญ่
(ไม้
ยาง ไม้
มะค่
าโมง ไม้
ตะเคี
ยน ไม้
มะไฟ ไม้
กระท้
อน และไม้
ตะแบกใหญ่
) สั
ตว์
ป่
า ของป่
า สมุ
นไพรและต้
นน้
ลาคลองหลายสาย เช่
น แม่
น้
าจั
นทบุ
รี
แม่
น้
าระยอง แม่
น้
าบางปะกง แม่
น้
าปราจี
นบุ
รี
เป็
นต้
น และ
นอกจากนี้
พื้
นที่
ดิ
นแดนภาคตะวั
นออก ยั
งประกอบไปด้
วยผู้
คนที่
มี
ความหลากหลายทางวั
ฒนธรรม
(Culture diversity) เข้
ามาตั้
งถิ่
นฐานเป็
นเวลายาวนาน และสั
มพั
นธ์
กั
บทรั
พยากรท้
องถิ่
นด้
วยภู
มิ
ปั
ญญาที่
พวกเขาสั่
งสม พร้
อมทั้
งปรั
บเปลี่
ยนความหมายในการดารงอยู่
ของตนเองสื
บต่
อกั
นมา ก่
อกาเนิ
เป็
นชี
วิ
ตกลุ่
มคนที่
ปรั
บตั
วเข้
ากั
บสภาพแวดล้
อมและร่
วมสร้
างภู
มิ
ทั
ศน์
วั
ฒนธรรม (Culture Landscape)
ภายในท้
องถิ่
นภาคตะวั
นออก ซึ่
งกลุ่
มชาติ
พั
นธุ์
ชองก็
เป็
นส่
วนหนึ่
งของความหลากหลายทางวั
ฒนธรรมที่
ดารงอยู่
ในดิ
นแดนภาคตะวั
นออก และมี
การปรั
บเปลี่
ยนตั
วเอง เพื่
อเผชิ
ญกั
บปรากฏการณ์
ทางธรรมชาติ
และความคิ
ดของสั
งคมที่
ปิ
ดล้
อมกลุ่
มคนชองไว้
กั
บความอุ
ดมสมบู
รณ์
ของพื้
นที่
ภาคตะวั
นออก และ
ความหมายการพั
ฒนาของรั
ฐไทยในช่
วงเวลาทางประวั
ติ
ศาสตร์
1...,23,24,25,26,27,28,29,30,31,32 34,35,36,37,38,39,40,41,42,43,...145
Powered by FlippingBook