nt139 - page 40

32
4. การเรี
ยนรู้
ด้
วยการแก้
ปั
ญหา เป็
นยุ
ทธศาสตร์
การเรี
ยนรู้
ศิ
ลปะที่
เน้
นให้
ผู้
เรี
ยนได้
ศึ
กษา
เอง หาทางแก้
ปั
ญหาด้
วยตนเอง ตั้
งแต่
การกํ
าหนดปั
ญหาและค้
นหาวิ
ธี
การแก้
ปั
ญหาด้
วยวิ
ธี
และขั้
นตอนที่
เหมาะสม
กั
บผู้
เรี
ยน
5. การเรี
ยนรู้
แบบเชื่
อมโยงบู
รณาการความรู้
สหสาขา เป็
นยุ
ทธศาสตร์
การเรี
ยนรู้
ศิ
ลปะที่
สามารถบู
รณาการเชื่
อมโยงความรู้
และกระบวนการ ทั้
งในกลุ่
มสาระและระหว่
างกลุ่
มสาระ
6.5 การวั
ดและประเมิ
นผล
หลั
กการของหลั
กสู
ตรการศึ
กษาขั้
นพื้
นฐานเน้
นกระบวนการเรี
ยนรู้
ที่
ยึ
ดผู้
เรี
ยนเป็
นสํ
าคั
โดยให้
ผู้
เรี
ยนได้
ลงมื
อปฏิ
บั
ติ
จริ
ง มี
การติ
ดตามประเมิ
นผลตามมาตรฐานการเรี
ยนรู้
กลุ่
มสาระการเรี
ยนรู้
และมาตรฐาน
การเรี
ยนรู้
ช่
วงชั้
น ซึ่
งใช้
เป็
นเป้
าหมายของการพั
ฒนาผู้
เรี
ยน ที่
ครอบคลุ
มทั้
งด้
านความรู้
ทั
กษะ / กระบวนการ
คุ
ณธรรม จริ
ยธรรม และค่
านิ
ยม ให้
ผู้
เรี
ยนมี
ส่
วนร่
วมในการประเมิ
นการเรี
ยนรู้
ของตนได้
เอง และใช้
วิ
ธี
การประเมิ
จากสภาพจริ
ง ด้
วยวิ
ธี
การประเมิ
นผลที่
หลากหลาย มี
การ
บั
นทึ
กผลการประเมิ
นอย่
างเป็
นระบบ เพื่
อใช้
เป็
นข้
อมู
ลในการพั
ฒนาผู้
เรี
ยนศิ
ลปะอย่
างต่
อเนื่
อง
ในการวั
ดและประเมิ
นผลการเรี
ยนรู้
ศิ
ลปะตามหลั
กสู
ตรการศึ
กษาขั้
นพื้
นฐาน จึ
งจํ
าเป็
นที่
ผู้
สอนจะต้
องวั
ดผล
และประเมิ
นผลให้
ครอบคลุ
มทั้
ง 3 ด้
านคื
อ ด้
านความรู้
ทั
กษะ / กระบวนการ คุ
ณธรรม จริ
ยธรรม และค่
านิ
ยม
6.6 แหล่
งการเรี
ยนรู้
แหล่
งการเรี
ยนรู้
คื
อ สถานที่
ปรากฏการณ์
เหตุ
การณ์
หรื
อสถานการณ์
ต่
างๆ รวมทั้
ความรู้
ความชํ
านาญ ความเชี่
ยวชาญ ความคิ
ดเห็
น ความรู้
สึ
กของบุ
คคล ซึ่
งอาจมี
การถ่
ายทอด หรื
อบั
นทึ
กไว้
ในสื่
ต่
างๆเช่
น หนั
งสื
อเรี
ยน ตํ
ารา หรื
อสื่
ออิ
เล็
กทรอนิ
กส์
อื่
นๆ ด้
วยธรรมชาติ
ของกลุ่
มศิ
ลปะที่
มุ่
งพั
ฒนาให้
ผู้
เรี
ยนเกิ
ดการ
เรี
ยนรู้
รู้
วิ
ธี
การแสวงหาความรู้
ได้
ทุ
กเวลา ทุ
กโอกาส และทุ
กสถานที่
ประกอบกั
บความก้
าวหน้
าของเทคโนโลยี
การ
สื่
อสาร ทํ
าให้
ผู้
เรี
ยนสามารถเข้
าถึ
งแหล่
งการเรี
ยนรู้
ที่
มี
อยู่
อย่
างมากมายในปั
จจุ
บั
น ซึ่
งช่
วยให้
ผู้
เรี
ยนเกิ
ดการเรี
ยนรู้
ตาม
มาตรฐานของกลุ่
มสาระการเรี
ยนรู้
ศิ
ลปะได้
สะดวกรวดเร็
ว และมี
ประสิ
ทธิ
ภาพอย่
างไม่
มี
ขอบเขตจํ
ากั
7. งานวิ
จั
ยที่
เกี่
ยวข้
อง
กฤษณพั
นธ์
เพ็
งศรี
(2546) ได้
ศึ
กษาสภาพปั
ญหาและความต้
องการของผู้
ประกอบการรถม้
าลํ
าปาง ผล
การศึ
กษาที่
ได้
ศึ
กษา 4 ด้
าน ได้
แก่
ด้
านบุ
คลากร ด้
านงบประมาณ ด้
านวั
สดุ
อุ
ปกรณ์
และด้
านการจั
ดการ มี
ดั
งต่
อไปนี้
ด้
านบุ
คลากร พบว่
าผู้
ประกอบการขาดบุ
คลากรที่
มี
ความรู้
ความสามารถการในดู
แลและเลี้
ยงม้
าอย่
างถู
กต้
อง
และความต้
องการให้
มี
แหล่
งฝึ
กหั
ดการขั
บขี้
รถม้
าอย่
างถู
กต้
องและเป็
นระบบ
ด้
านงบประมาณ ขาดงบประมาณในการลงทุ
นและขาดแหล่
งเงิ
นทุ
นหมุ
นเวี
ยน รายได้
ไม่
แน่
นอน
ผู้
ประกอบการมี
ความต้
องการงบสนั
บสนุ
นและแหล่
งเงิ
นทุ
นหมุ
นเวี
ยน
ด้
านวั
สดุ
อุ
ปกรณ์
ขาดอุ
ปกรณ์
บางอย่
างในการผลิ
ตรถม้
า เนื่
องจากไม่
มี
โรงงานที่
ผลิ
ตขาดม้
าที่
มี
คุ
ณลั
กษณะที่
เหมาะสมสํ
าหรั
บเที
ยมรถม้
า ความต้
องการของผู้
ประกอบการคื
อต้
องการศู
นย์
เพาะพั
นธุ์
ม้
าในการนํ
ามาเที
ยมรถ
1...,30,31,32,33,34,35,36,37,38,39 41,42,43,44,45,46,47,48,49,50,...78
Powered by FlippingBook