ct154 - page 128

บทที่
5
สรุ
ปผล อภิ
ปรายผล และข้
อเสนอแนะ
1.
สรุ
ปผล
การศึ
กษาเรื่
องการสื
บทอดและร่
วมสร้
างสานึ
กทางวั
ฒนธรรมการใช้
ทรั
พยากรท้
องถิ่
นของกลุ่
ชาติ
พั
นธุ์
ชอง อาเภอเขาคิ
ชฌกู
ฎ จั
งหวั
ดจั
นทบุ
รี
ในครั้
งนี้
มี
วั
ตถุ
ประสงค์
เพื่
อศึ
กษาการปรั
บตั
วทาง
วั
ฒนธรรมในการจั
ดการทรั
พยากรท้
องถิ่
นของกลุ่
มชาติ
พั
นธุ์
ชอง โดยมี
คาถามการวิ
จั
ย คื
อ กลุ่
มชาติ
พั
นธุ์
ชองสามารถนาวั
ฒนธรรมมาประยุ
กต์
ใช้
ประโยชน์
อย่
างไร ในการจั
ดการความสั
มพั
นธ์
ระหว่
างคน
ชองกั
บทรั
พยากรท้
องถิ่
น ขอบเขตการวิ
จั
ยด้
านพื้
นที่
คื
อ บ้
านคลองพลู
ตาบลคลองพลู
อาเภอ
เขาคิ
ชฌกู
ฎ จั
งหวั
ดจั
นทบุ
รี
ขอบเขตด้
านเนื้
อหา มุ่
งเน้
นศึ
กษาการปรั
บตั
วทางวั
ฒนธรรมในการจั
ดการ
ทรั
พยากรท้
องถิ่
นของกลุ่
มชาติ
พั
นธุ์
ชอง ได้
แก่
ด้
านการจั
ดแสดงวิ
ถี
ชี
วิ
ตและวั
ฒนธรรม ด้
านภาษา และ
ด้
านพิ
ธี
กรรม ซึ
งในการวิ
จั
ยครั้
งนี้
ใช้
วิ
ธี
วิ
จั
ยทางมานุ
ษยวิ
ทยา (Anthropological Research)
จากการศึ
กษาวิ
จั
ยพบว่
า กลุ่
มชาติ
พั
นธุ์
ชอง (Chong) จั
ดอยู่
ในกลุ่
มภาษาศาสตร์
ออสโตร-
เอเชี
ยติ
ด (Austro-Asiatic) ในกลุ่
มภาษาย่
อย มอญ-เขมร(Mon-Khmer) มี
ภาษาพู
ดชอง แต่
ไม่
มี
ภาษา
เขี
ยน เป็
นกลุ่
มคนที่
อาศั
ยกระจั
ดกระจายทางภาคตะวั
นออกตั้
งแต่
จั
งหวั
ดระยอง จั
นทบุ
รี
ตราด ซึ่
งพบ
อาศั
ยรวมกลุ่
มกั
นเป็
นหมู่
บ้
าน ในแถบลุ่
มน้
าจั
นทบุ
รี
บริ
เวณเขตตาบลตะเคี
ยนทอง และตาบลคลองพลู
อาเภอเขาคิ
ชฌกู
ฎ จั
งหวั
ดจั
นทบุ
รี
ลั
กษณะเด่
นของสั
งคมหมู่
บ้
านชอง คื
อ ภาษาชองเป็
นของตนเอง
และพิ
ธี
กรรมชองต่
างๆ ได้
แก่
พิ
ธี
กรรมการแต่
งงาน พิ
ธี
กรรมบุ
ญส่
งทุ่
ง การเซ่
นไหว้
ศาล พิ
ธี
กรรมการ
เล่
นผี
หิ้
งและผี
โรง
ชุ
มชนบ้
านคลองพลู
ตาบลคลองพลู
อาเภอเขาคิ
ชฌกู
ฎ จั
งหวั
ดจั
นทบุ
รี
เป็
นชุ
มชนที่
มี
คนชอง
อาศั
ยเป็
นกลุ่
มก้
อน โดยชุ
มชนชองมี
การตั้
งถิ่
นฐานมาเป็
นกว่
าร้
อยปี
อดี
ตเป็
นบริ
เวณที่
มี
ต้
นพลู
เถาใหญ่
ขึ้
มากมาย ชาวบ้
านจึ
งเรี
ยกพื้
นที่
นี้
ว่
า “คลองพลู
” ขณะนั้
นพื้
นที่
การปกครองบ้
านคลองพลู
เป็
นเพี
ยงส่
วน
หนึ่
งของเขตการปกครองบ้
านตะเคี
ยนทอง ต่
อมามี
ผู้
คนจากพื้
นที่
บ้
านตะเคี
ยนทอง และบ้
านน้
าขุ่
น ก็
เข้
มาตั้
งถิ่
นฐานหลายตระกู
ล จึ
งรวมกั
นเป็
นชุ
มชนขึ้
น จนกระทั่
งเมื่
อการพั
ฒนาของรั
ฐ จึ
งมี
การแบ่
งเขตการ
ปกครองบ้
านคลองพลู
ออกจากบ้
านตะเคี
ยนทอง ซึ่
งนาไปสู่
การบอกตาแหน่
งแห่
งที่
ของตนเองว่
า “คน
คลองพลู
” โดยคนส่
วนใหญ่
ในหมู่
บ้
านเป็
น “คนชอง”
โครงสร้
างทางเศรษฐกิ
จของชุ
มชนบ้
านคลองพลู
พบว่
า มี
การเปลี่
ยนผ่
านจากระบบการผลิ
แบบการหาของป่
า สมุ
นไพร กระวาน เร่
ว และน้
ามั
นยาง เพื่
อแลกเปลี่
ยนกั
บสิ่
งของในเมื
องจั
นทบุ
รี
เปลี่
ยนมาสู่
การเป็
นชาวไร่
มั
นสาปะหลั
ง สวนผลไม้
และสวนยางพารา ตามลาดั
บ แต่
ก็
ยั
งพบว่
าคนบ้
าน
คลองพลู
มี
การใช้
ประโยชน์
จากทรั
พยากรเพื่
อยั
งชี
พ คื
อ การทาข้
าวนาลุ่
ม โดยไม่
ได้
เป็
นไปเพื่
อการค้
าขาย
1...,118,119,120,121,122,123,124,125,126,127 129,130,131,132,133,134,135,136,137,138,...145
Powered by FlippingBook