ct154 - page 18

10
การเมื
อง หรื
อความสั
มพั
นธ์
ทางเศรษฐกิ
จ เพราะว่
าในบริ
บทที่
มี
การแข่
งขั
นแย่
งชิ
งทรั
พยากรการผลิ
ต และ
การแลกเปลี่
ยนทางเศรษฐกิ
จจะเกิ
ดกลุ่
มผลประโยชน์
ต่
างๆ ขึ้
น แต่
ละกลุ่
มจะมี
ผลประโยชน์
ร่
วมกั
น และ
จะประสบความสาเร็
จในฐานะปฏิ
บั
ติ
การของกลุ่
มต่
อไปได้
ก็
ต่
อเมื่
อพั
ฒนากลไกที่
ทาหน้
าที่
จั
ดระเบี
ยบกลุ่
ขึ้
นมา เช่
น การเน้
นความแตกต่
างกั
บกลุ่
มอื่
น การสื่
อสารภายในกลุ่
ม การจั
ดระเบี
ยบโครงสร้
างอานาจ
การพั
ฒนาอุ
ดมการณ์
และ การเรี
ยนรู้
ทางสั
งคม เป็
นต้
น ซึ่
ง โคเฮน (Abner Cohen.1974) ได้
ศึ
กษา
ปรากฏการณ์
ของชนเผ่
า หมู่
บ้
าน และชุ
มชนที่
เคยโดดเดี่
ยว และได้
กลายมาเป็
นส่
วนหนึ่
งของรั
ฐสมั
ยใหม่
และแปลงเปลี่
ยนมาเป็
น “การรวมตั
วทางชาติ
พั
นธุ์
” หรื
อ กลุ่
มชาติ
พั
นธุ์
ที่
มี
บรรทั
ดฐานพฤติ
กรรม
บางอย่
างร่
วมกั
น เช่
น ระบบเครื
อญาติ
การแต่
งกาย ประเพณี
และพิ
ธี
กรรม ซึ่
งสมาชิ
กของแต่
ละกลุ่
มได้
เรี
ยนรู้
กระบวนการทางสั
งคม ทาให้
มี
ประสบการณ์
และจิ
ตสานึ
กทางชาติ
พั
นธุ์
โดยแสดงออกในการปฎิ
สั
มพั
นธ์
กั
บกลุ่
มชาติ
พั
นธุ์
อื่
นภายใต้
ระบบสั
งคมร่
วมกั
น โดยที่
สมาชิ
กของแต่
ละกลุ่
มอาจจะยึ
ดถื
อบรรทั
ฐานพฤติ
กรรมของกลุ่
มในระดั
บขั้
นที่
ต่
างกั
นในระหว่
างที่
ได้
มี
การปฏิ
สั
มพั
นธ์
กั
น ในตอนแรกสั
ญลั
กษณ์
ของ
ความเป็
นกลุ่
มชาติ
พั
นธุ์
นี้
มี
ลั
กษณะเป็
นนามธรรม หรื
อวิ
ถี
คิ
ด แต่
พั
ฒนาสภาพมาเป็
นรู
ปธรรม เช่
น การ
แสดงออกผ่
านพิ
ธี
กรรมของกลุ่
มชาติ
พั
นธุ์
เป็
นต้
น ในแง่
การดารงอยู่
และเป็
นที่
ยอมรั
บของทั้
งคนในกลุ่
และนอกกลุ่
ม และเป็
นข้
อกาหนดในเชิ
งพฤติ
กรรมสาหรั
บบุ
คคลที่
ต้
องมาเกี่
ยวข้
องปฏิ
สั
มพั
นธ์
กั
น เช่
นกรณี
การแสดงออกผ่
านพิ
ธี
กรรมการแต่
งงานที่
คนภายนอกต้
องปฏิ
บั
ติ
ตามความเชื่
อของกลุ่
มชาติ
พั
นธุ์
ที่
เข้
ามา
เกี่
ยวข้
อง
สาหรั
บการวิ
จั
ยครั้
งนี้
ได้
นากรอบแนวคิ
ดการปรั
บตั
วทางวั
ฒนธรรมของกลุ่
มชาติ
พั
นธุ์
เน้
นว่
การสร้
างความหมายของกลุ่
มชาติ
พั
นธุ์
ต้
องคานึ
งถึ
งวั
ฒนธรรมท้
องถิ่
นหรื
อเรี
ยกว่
า บรรทั
ดฐานพฤติ
กรรม
บางอย่
าง ที่
สามารถสร้
างความเป็
นบึ
กแผ่
น เป็
นพวกพ้
อง เป็
นญาติ
พี่
น้
อง และก่
อให้
เกิ
ดสานึ
กร่
วมอั
เดี
ยวกั
นได้
นอกจากนี้
ความเป็
นกลุ่
มชาติ
พั
นธุ์
ยั
งแสดงถึ
ง รู
ปแบบการจั
ดการทรั
พยากรของผู้
คนในท้
องถิ่
ที่
ผ่
านมาได้
มี
การศึ
กษาการปรั
บตั
วของกลุ่
มชาติ
พั
นธุ์
มากมายหลายชิ้
น แต่
ทั้
งนี้
ผู้
วิ
จั
ยจะให้
ความสาคั
เฉพาะ การปรั
บใช้
วั
ฒนธรรมในการดิ้
นรนต่
อสู้
เพื่
อความอยู่
รอดของกลุ่
มชาติ
พั
นธุ์
ในบริ
บทที่
มี
ความ
หลากหลายทางชาติ
พั
นธุ์
เช่
นกรณี
การปรั
บของชาวม้
ง ในการศึ
กษาของ ประสิ
ทธิ์
ลี
ปรี
ชา(2001) เรื่
อง
“Kinship and Identity among Hmong in Thailand” ที่
มองว่
าภายใต้
บริ
บทที่
กลุ่
มชาติ
พั
นธุ์
ม้
งมี
ปฏิ
สั
มพั
นธ์
กั
บสั
งคมไทยพื้
นราบ รั
ฐชาติ
และวั
ฒนธรรมตะวั
นตก โดยเฉพาะนโยบายการผสมกลมกลื
ทางวั
ฒนธรรมของรั
ฐ และการเผยแพร่
ศาสนาพุ
ทธและคริ
สต์
ส่
งผลให้
เกิ
ดการเปลี่
ยนแปลงทางวั
ฒนธรรม
และระบบเครื
อญาติ
ม้
งอย่
างรวดเร็
ว แต่
คนม้
งก็
สามารถปรั
บเปลี่
ยนวั
ฒนธรรมระบบเครื
อญาติ
โดยนาเอา
องค์
ความรู้
แบบใหม่
และความทั
นสมั
ยมาใช้
ให้
เกิ
ดประโยชน์
ได้
แก่
การนาความเข้
มแข็
งทางระบบเครื
ญาติ
มาใช้
ประโยชน์
ในการควบคุ
มพฤติ
กรรมเสพยาเสพติ
ดของสมาชิ
ก การใช้
ประโยชน์
จากเครื
อข่
าย
ความสั
มพั
นธ์
ทางเครื
อญาติ
ด้
วยการพึ
งพาอาศั
ยกั
น เมื่
อมี
สมาชิ
กทางเครื
อญาติ
เดิ
นทางเข้
าไปอยู่
ในเมื
อง
และการขยายเครื
อข่
ายเครื
อญาติ
ข้
ามพรมแดนความเป็
นรั
ฐชาติ
ในการติ
ดต่
อธุ
รกิ
จการค้
1...,8,9,10,11,12,13,14,15,16,17 19,20,21,22,23,24,25,26,27,28,...145
Powered by FlippingBook