ct154 - page 16

8
วั
ฒนธรรม ด้
วยวิ
ธี
การตี
ความจากสั
ญลั
กษณ์
ภาษา และพฤติ
กรรมทางสั
งคม (Clifford Geertz. 2000)
ซึ่
งรากฐานการศึ
กษาของ เวเบอร์
(Max Weber) และเกี
ยร์
ตซ์
(Clifford Geertz) ส่
วนหนึ่
งถู
กนามา
ผสมผสานในการศึ
กษาทางชาติ
พั
นธุ์
ในปั
จจุ
บั
น ทั้
งงานของของลี
ช (Edmund Leach) เฟรดดริ
ก บาร์
ทซ์
(Fredrik Barth) แอบเนอร์
โคเฮน (Cohen Abner) และคายส์
(Charles Keyes)
งานศึ
กษาของลี
ช (Edmund Leach.1964) ให้
ความสาคั
ญกั
บการปรั
บตั
วของกลุ่
มชาติ
พั
นธุ์
ที่
เน้
นเรื่
องความแตกต่
างทางโครงสร้
าง (Structural differentiation) ระหว่
างพื้
นที่
สู
งกั
บพื้
นที่
หุ
บเขา ซึ่
งมี
ความหมายทางสั
งคมแฝงอยู่
พื้
นที่
ราบหุ
บสามารถทานาเป็
นระบบเกษตรถาวร เป็
นที่
อยู่
ของกลุ่
ม “ชาน”
เป็
นพื้
นที่
ที่
มี
อารยธรรม สู
งกว่
า เนื่
องจากนั
บถื
อพุ
ทธศาสนา ในขณะที่
พื้
นที่
สู
งเป็
นที่
อยู่
ของกลุ่
ม “คะฉิ่
น”
ต้
องทาการเกษตรแบบไร่
หมุ
นเวี
ยน และไม่
ได้
นั
บถื
อพุ
ทธศาสนา เมื่
อ “คะฉิ่
น” ต้
องการปรั
บสถานะทาง
สั
งคมให้
สู
งขึ้
น โดยการกลายมาเป็
น “ชาน” ซึ่
งก็
คื
อการปรั
บรั
บวั
ฒนธรรมของชานมาใช้
เช่
น พุ
ทธ
ศาสนา และภาษา
ส่
วนงานของ เฟรดดริ
ก บาร์
ทซ์
(Fredrik Barth.1969) ได้
นาเสนอความคิ
ดเรื่
องพรมแดนชาติ
พั
นธุ์
(Ethnic Boundary) เห็
นว่
าการจะเข้
าใจปรากฏการณ์
ทางชาติ
พั
นธุ์
ได้
ต้
องพิ
จารณาความคิ
ดและ
จิ
ตสานึ
กของคนในแต่
ละกลุ่
มว่
าลั
กษณะใดทางวั
ฒนธรรมมี
ความหมายกั
บความเป็
นกลุ่
มชาติ
พั
นธุ์
ของพวก
เขาอย่
างไร เพราะกลุ่
มชนต่
างๆ อาจจะมี
แบบแผนวั
ฒนธรรมร่
วมกั
นบางอย่
างที่
เกิ
ดจากการปรั
บตั
วกั
สภาพแวดล้
อมที่
ใกล้
เคี
ยงกั
น แต่
ต่
างฝ่
ายก็
มองว่
าไม่
ใช่
พวกเดี
ยวกั
น ซึ่
งบาร์
ทซ์
มองกลุ่
มชาติ
พั
นธุ์
เป็
“รู
ปแบบการจั
ดระเบี
ยบสั
งคม” โดยพิ
จารณาว่
า การที่
สมาชิ
กของกลุ่
มเรี
ยกตั
วเองหรื
อถู
กเรี
ยกโดยคนอื่
ว่
าเป็
นใคร หรื
อเป็
นสมาชิ
กของกลุ่
มชาติ
พั
นธุ์
ใดในกระบวนการการปฏิ
สั
มพั
นธ์
ซึ่
งกั
นและกั
น และเลื
อก
ลั
กษณะทางวั
ฒนธรรมที่
เป็
นสั
ญลั
กษณ์
ของความแตกต่
างทางชาติ
พั
นธุ์
ระหว่
างกลุ่
มชนต่
างๆ ไม่
ใช่
ภาพรวมของวั
ฒนธรรมทั้
งหมด ในแง่
นี้
ความเป็
นกลุ่
มชาติ
พั
นธุ์
ก็
เปรี
ยบเหมื
อนสถานภาพอื่
นๆในสั
งคม
เช่
น เพศสภาพ ชนชั้
นหรื
อวั
ยวุ
ฒิ
ที่
กลายเป็
นเครื่
องหมายของการปฏิ
สั
มพั
นธ์
ที่
ทาให้
ผู้
ปฏิ
สั
มพั
นธ์
รู้
ว่
าควร
ปฏิ
บั
ติ
ต่
อกั
นอย่
างไร ซึ่
งคายส์
(Charles Keyes.1979) ไม่
เห็
นด้
วยกั
บบาร์
ทซ์
ที่
เสนอว่
า ลั
กษณะร่
วม
ทางวั
ฒนธรรมของกลุ่
มชาติ
พั
นธุ์
เป็
นผลมาจากการจั
ดระเบี
ยบกลุ่
มชาติ
พั
นธุ์
แต่
เขาเห็
นว่
า การที่
จะ
อธิ
บายการดารงอยู่
ของกลุ่
มชาติ
พั
นธุ์
นั้
นขึ้
นอยู่
กั
บหลายเงื่
อนไข เช่
น ความแตกต่
างทางวั
ฒนธรรม และ
ความขั
ดแย้
งเชิ
งโครงสร้
าง อาจเป็
นเรื่
องการเข้
าถึ
งทรั
พยากรในการผลิ
ต อานาจ ความรู้
กฏหมาย และ
เพศ เป็
นต้
น ความเป็
นกลุ่
มชาติ
พั
นธุ์
จึ
งมี
หน้
าที่
และความหมายในการปฏิ
สั
มพั
นธ์
ทางสั
งคมแบบใหม่
แต่
เมื่
อสถานการณ์
สั
งคมบางอย่
างเปลี่
ยนไป เช่
น กลุ่
มชาติ
พั
นธุ์
ถู
กกลื
นกลายทางวั
ฒนธรรมจนยากจะหา
สั
ญลั
กษณ์
ของความแตกต่
าง หรื
อสภาวะความขั
ดแย้
งเชิ
งโครงสร้
างสลายไป ความเป็
นชาติ
พั
นธุ์
เดิ
อาจจะไม่
เอื้
ออานวยต่
อการปรั
บตั
วของกลุ่
มชาติ
พั
นธุ์
1...,6,7,8,9,10,11,12,13,14,15 17,18,19,20,21,22,23,24,25,26,...145
Powered by FlippingBook