sp104 - page 15

บทที่
๒ เอกสารและงานวิ
จั
ยที่
เกี่
ยวข้
อง
::
บทที่
เอกสารและงานวิ
จั
ยที่
เกี่
ยวข้
อง
การศึ
กษาครั้
งนี้
เป็
นการรวบรวม ประมวลองค์
ความรู้
เกี่
ยวกั
บค่
านิ
ยมในสั
งคมไทย ทั้
งนี้
การ
ทบทวนแนวคิ
ด ทฤษฎี
องค์
ความรู้
และงานศึ
กษาวิ
จั
ยที่
เกี่
ยวข้
อง สามารถแบ่
งเป็
น ๕ หั
วข้
อ ดั
งนี้
คื
๑.
แนวคิ
ดเกี่
ยวกั
บองค์
ความรู้
และการจั
ดการความรู้
๒.
แนวคิ
ดค่
านิ
ยมของ Milton Rokeach
๓.
ประเภทของค่
านิ
ยมตามทั
ศนะของต่
างชาติ
๔.
แนวคิ
ดเกี่
ยวกั
บค่
านิ
ยมไทย
-
ความหมายของค่
านิ
ยม
-
ประเภทของค่
านิ
ยม
-
ค่
านิ
ยมไทยและผลกระทบต่
อสั
งคม
๕.
แนวคิ
ดเกี่
ยวกั
บการเสริ
มสร้
างค่
านิ
ยมไทย
-
ความหมายการเสริ
มสร้
างค่
านิ
ยม
- การพั
ฒนาค่
านิ
ยม
- รู
ปแบบและวิ
ธี
การ
๑.
แนวคิ
ดเกี่
ยวกั
บองค์
ความรู้
และการจั
ดการความรู้
การศึ
กษาเกี่
ยวกั
บองค์
ความรู้
และการจั
ดการความรู้
นั้
น ควรทาความเข้
าใจในรายละเอี
ยด
และข้
อมู
ลต่
างๆ อั
นประกอบไปด้
วย ๑.๑ นิ
ยามของความรู้
และองค์
ความรู้
๑.๒ ระดั
บของความรู้
และ
องค์
ความรู้
๑.๓ ประเภทของความรู้
และองค์
ความรู้
๑.๔ การจั
ดการความรู้
และ ๑.๕ ที่
มาของการ
จั
ดการความรู้
๑.๑ นิ
ยามของความรู้
และองค์
ความรู้
ความรู้
คื
อ สิ่
งที่
เมื่
อนาไปใช้
จะไม่
หมดหรื
อสึ
กหรอ แต่
จะยิ่
งงอกเงยหรื
องอกงามขึ้
น ความรู้
คื
อ สารสนเทศที่
นาไปสู่
การปฏิ
บั
ติ
ความรู้
เป็
นสิ่
งที่
เกิ
ดขึ้
นกั
บบริ
บทและกระตุ้
นให้
เกิ
ดขึ้
นโดยความ
ต้
องการ (วิ
จารณ์
พานิ
ช, ๒๕๔๘)
ความรู้
เป็
น สาระข้
อมู
ลที่
มี
ความหมายเป็
นภู
มิ
ปั
ญญา ทั้
งนี้
ความรู้
จั
ดว่
ามี
ความสาคั
ญ โดย
เป็
นพลั
งอานาจ เป็
นผู้
นา ผู้
ผลิ
ต และสามารถก่
อให้
เกิ
ดการเปลี่
ยนแปลงในการคิ
ด พู
ด ทา ทั้
งนี้
แหล่
งที่
มาของความรู้
นั้
นมาจากหลายแหล่
ง เช่
น ความบั
งเอิ
ญ การลองผิ
ดลองถู
ก จากผู้
รู้
จากผู้
นา
จากขนบธรรมเนี
ยม จากประสบการณ์
จากการค้
นคว้
า จากการอ่
านและจากการวิ
จั
ย (สุ
ธี
ระ ประเสริ
สรรพ์
, ๒๕๔๙)
1...,5,6,7,8,9,10,11,12,13,14 16,17,18,19,20,21,22,23,24,25,...216
Powered by FlippingBook