ct156 - page 21

หรื
อทั
นต์
) เมื
องกวายหรื
อเมื
องกาย เมื
องเติ๊
ก เมื
องม่
วนหรื
อเมื
องเจี
ยน เมื
องลา เมื
องมุ
น เมื
องลอ และเมื
อง
ซาง โดยมี
เมื
องแถงเป็
นศู
นย์
กลางการปกครองตนเองอย่
างอิ
สระ เมื
องของไทยทรงดํ
าเหล่
านี้
เคยตกอยู่
ใต้
อํ
านาจของลาว จี
น และเวี
ยดนาม จึ
งทํ
าให้
เจ้
าเมื
องต้
องส่
งเครื่
องบรรณาการไปผู
กไมตรี
กั
บสามประเทศนี้
เพื่
อป้
องกั
นการรุ
กรานและรั
บความคุ้
มครอง ดิ
นแดนแคว้
นสิ
บสองจุ
ไทนี้
จึ
งเรี
ยกกั
นว่
า “เมื
องสามส่
วยฟ้
า”
หรื
อ “เมื
องสามฝ่
ายฟ้
า” (ประชุ
มพงศาวดาร เล่
ม ๙, ๒๕๐๗ อ้
างถึ
งใน บุ
ญเสริ
ม ติ
นตะสุ
วรรณ, ๒๕๔๕)
ในสมั
ยกรุ
งศรี
อยุ
ธยาตอนต้
น แคว้
นสิ
บสองจุ
ไท แบ่
งออกเป็
น ๒ ส่
วน คื
อ ส่
วนที่
ติ
ดกั
บพม่
าและจี
เรี
ยกว่
า แคว้
นสิ
บสองพั
นนา คื
อ พวกไทยลื้
อ และส่
วนที่
ติ
ดต่
อกั
บจี
นและญวน เรี
ยกว่
า แคว้
นสิ
บสองจุ
ไท
และแว่
นแคว้
นสิ
บสองจุ
ไททางใต้
กษั
ตริ
ย์
เมื
องหลวงพระบางได้
แต่
งตั้
งท้
าวพระยาขึ้
นครองเมื
องในตํ
าแหน่
หั
วพั
นปกครอง เดิ
มมี
อยู่
๕ เมื
อง ภายหลั
งเพิ่
มขึ้
นอี
ก ๑ เมื
อง จึ
งเรี
ยกว่
า “หั
วพั
นทั้
งห้
าทั้
งหก” ซึ่
งต่
อมาเป็
ชื่
อจั
งหวั
ดหนึ่
งของสาธารณรั
ฐประชาธิ
ปไตยประชาชนลาว มี
ชื่
อเรี
ยกเป็
นทางการว่
า “เวี
ยงไชย” หรื
อ “ซํ
เหนื
อ” (มนตรี
ศรี
บุ
ษราคั
ม, ๒๕๒๒)
พลเมื
องของเมื
องเวี
ยงไชย (ซํ
าเหนื
อหรื
อหั
วพั
นทั้
งห้
าทั้
งหก) ส่
วนมากเป็
นชาวไทดํ
า ซึ่
งชาวลาว
เรี
ยกว่
า “ไทยเหนื
อ” เพราะตั้
งบ้
านเรื
อนอยู่
ติ
ดกั
บเมื
องแถง แห่
งสิ
บสองจุ
ไท มี
สํ
าเนี
ยงพู
ดคล้
ายภาษา
เชี
ยงใหม่
(มนตรี
ศรี
บุ
ษราคั
ม, ๒๕๒๒)
๑.๒ การอพยพเขาสู่
ประเทศไทย
ชาวไทยทรงดํ
าอพยพเข้
าสู่
ประเทศไทย อั
นเนื่
องมาจากเหตุ
ที่
บ้
านเมื
องของชาวไทยทรงดํ
าในสิ
สองจุ
ไทมี
ขนาดเล็
กและตั้
งอยู่
ในบริ
เวณกึ่
งกลางระหว่
างเวี
ยดนามกั
บลาว ซึ่
งต่
างทํ
าสงครามกั
นอยู่
เสมอ ชาว
ไทยทรงดํ
าจึ
งไม่
อาจหลี
กเลี่
ยงภั
ยที่
เกิ
ดจากสงครามได้
ด้
วยสาเหตุ
นี้
จึ
งทํ
าให้
มี
การอพยพโยกย้
ายถิ่
นฐานไป
มาระหว่
างสองประเทศนี้
ในลั
กษณะสมั
ครใจ และถู
กกวาดต้
อน แม้
การอพยพเข้
ามาตั้
งถิ่
นฐานในประเทศ
ไทยก็
มี
สาเหตุ
และลั
กษณะการโยกย้
ายที่
ไม่
แตกต่
างกั
น โดยเฉพาะการโยกย้
ายด้
วยเหตุ
ผลทางสงครามมี
จํ
านวนมากที่
สุ
ด ซึ่
งตามหลั
กฐานทางประวั
ติ
ศาสตร์
พบว่
าไทยทรงดํ
าได้
โยกย้
ายถิ่
นฐานเข้
ามาอยู่
ในประเทศ
ไทยหลายครั้
งๆ ที่
สํ
าคั
ญๆ มี
อยู่
๓ ครั้
ง คื
อ (บุ
ญเสริ
ม ติ
นตะสุ
วรรณ, ๒๕๔๕)
ครั้
งที่
๑ สมั
ยกรุ
งธนบุ
รี
ขณะนั้
นลาวแบ่
งออกเป็
นอาณาจั
กรหลวงพระบาง เวี
ยงจั
นทน์
และจํ
าปา
ศั
กดิ์
แต่
ละอาณาจั
กรมี
เจ้
าเมื
องปกครองอย่
างอิ
สระไม่
ขึ้
นต่
อกั
น มี
อาณาเขตแผ่
ขยายออกไปครอบคลุ
มเมื
อง
เล็
ก เมื
องน้
อย สภาพของเมื
องลาวหาความสงบมิ
ได้
มั
กแก่
งแย่
งช่
วงชิ
งอํ
านาจกั
นและกั
น จึ
งมั
กถู
กแทรกแซง
จากอาณาจั
กรใกล้
เคี
ยง เช่
น พม่
า และไทย อยู่
เป็
นประจํ
า อาณาจั
กรดั
งกล่
าวนี้
มุ่
งหวั
งจะครอบครองหั
เมื
องลาว ในที่
สุ
ดราว พ.ศ.๒๓๒๒ พระเจ้
ากรุ
งธนบุ
รี
โปรดให้
สมเด็
จเจ้
าพระยามหากษั
ตริ
ย์
ศึ
ก และ
เจ้
าพระยาสุ
รสี
ห์
ยกทั
พไปตี
เมื
องลาวและหั
วเมื
องขึ้
นทั้
งปวงไว้
ในอํ
านาจทั้
งหมดและได้
กวาดต้
อนครอบครั
ชาวลาวกลุ่
มต่
างๆ รวมทั้
งชาวลาวทรงดํ
า (ไทยทรงดํ
า) บริ
เวณที่
ราบพรวนพิ
นท์
ทั้
งนี้
เพื่
อความปลอดภั
ยของ
ชาวลาวทรงดํ
าเอง เพราะถิ่
นฐานเดิ
มของลาวทรงดํ
าอยู
ติ
ดกั
บญวนจึ
งเกิ
ดสงครามขึ้
นบ่
อยครั้
ง พระเจ้
ากรุ
ธนบุ
รี
ทรงต้
องการกํ
าลั
งคนเพื่
อมาทดแทนพลเมื
องที่
เสี
ยชี
วิ
ตเนื่
องจากสงคราม เพราะใน พ.ศ.๒๓๑๐ เกิ
สงครามขึ้
นจึ
งทํ
าให้
เสี
ยรี้
พลไปจํ
านวนมาก พลเมื
องบางส่
วนต้
องตายเพราะขาดแคลนอาหาร เมื
องต่
างๆ จึ
1...,11,12,13,14,15,16,17,18,19,20 22,23,24,25,26,27,28,29,30,31,...223
Powered by FlippingBook