Page 34 - งานวิจัย - www.culture.go.th/research

Basic HTML Version

๒๔
๓.๔ งานวิ
จั
ยเกี่
ยวกั
บลิ
เก
ลิ
เก เป็
นศิ
ลปะการแสดงพื้
นบ้
านที่
นอกจากจะได้
รั
บความสนใจจากสั
งคมในหมู่
ประชาชน
ชาวบ้
านที่
นิ
ยมการแสดงลิ
เกเป็
นมหรสพประจํ
าท้
องถิ่
นแล้
ว ในวงการศึ
กษาก็
ให้
ความสนใจศึ
กษาค้
นคว้
วิ
จั
ยเรื่
องลิ
เกกั
นอย่
างกว้
างขวางมาเป็
นเวลายาวนาน นั
กวิ
ชาการคนสํ
าคั
ญที่
ศึ
กษาค้
นคว้
าและนํ
าเสนอ
ความรู้
เรื่
องของลิ
เกเผยแพร่
สู่
สั
งคมคื
อ ศาสตราจารย์
กิ
ติ
คุ
ณ ดร.สุ
รพลวิ
รุ
ฬห์
รั
กษ์
ซึ่
งถื
อได้
ว่
าเป็
นต้
นแบบ
ในการนํ
าเสนอความรู้
เรื่
องลิ
เกให้
แก่
บุ
คคลในรุ่
นหลั
ง ๆ ต่
อมาให้
ดํ
าเนิ
นการศึ
กษาค้
นคว้
าวิ
จั
ยเรื่
องลิ
เกกั
มากขึ้
น ตั
วอย่
างงานวิ
จั
ยเรื่
องเกี่
ยวกั
บลิ
เก มี
ดั
งนี้
สุ
ริ
ยา สมุ
ทคุ
ปติ์
และคณะ (๒๕๔๑)
ศึ
กษาวิ
จั
ยเรื่
อง “แต่
งองค์
ทรงเครื่
อง : “ลิ
เก” ใน
วั
ฒนธรรมประชาไทย” พบว่
า ลิ
เกเป็
นศิ
ลปะการแสดงในกระแสวั
ฒนธรรมประชาที่
มี
เอกลั
กษณ์
เฉพาะตั
แตกต่
างไปจากศิ
ลปะการแสดงพื้
นบ้
านและศิ
ลปะการแสดงชนชั้
นผู้
นํ
า ลิ
เกเกิ
ดขึ้
นและพั
ฒนามาควบคู่
กั
ความทั
นสมั
ยและการขยายตั
วของสั
งคมเมื
อง ลิ
เกเป็
นศิ
ลปะการแสดงเพื่
อหาเงิ
นจากผู้
ชมโดยตรง รู
ปแบบ
และเนื้
อหาการแสดงลิ
เกจึ
งถู
กกํ
าหนดโดยรสนิ
ยมและความต้
องการทางศิ
ลปะและบั
นเทิ
งของผู้
ชมซึ่
งเป็
สมาชิ
กของชนชั้
นผู้
ใช้
แรงงาน (ชาวบ้
านร้
านตลาด) ลิ
เกเน้
นการนํ
าเสนอความจริ
งทางโลกี
ยะของมนุ
ษย์
และสั
งคมซึ่
งเป็
นเสี
ยงสะท้
อนและการประท้
วงความอยุ
ติ
ธรรม ความยากจนและชี
วิ
ตในชายขอบของชน
ชั้
นผู้
ใช้
แรงงานในสั
งคมไทยสมั
ยใหม่
รุ่
งนภา ฉิ
มพุ
ฒ (๒๕๔๒) ศึ
กษาวิ
จั
ยเรื่
อง “ลิ
เกในจั
งหวั
ดพิ
ษณุ
โลก” พบว่
า มี
ผู้
แสดงลิ
เก
จํ
านวน ๑๐๘ คน อยู่
ในเขตอํ
าเภอเมื
องและอํ
าเภออื่
น ๆ บทบาทของลิ
เกที่
มี
ต่
อชุ
มชน ได้
แก่
เป็
นเครื่
อง
บั
นเทิ
ง เป็
นอาชี
พ เป็
นการส่
งเสริ
มศิ
ลปะการแสดงและศิ
ลปิ
น เป็
นส่
วนหนึ่
งของพิ
ธี
กรรม เป็
นเครื่
องมื
สื่
อสาร เป็
นการให้
การศึ
กษาและข้
อคิ
ดสอนใจ เป็
นการสื
บสานนิ
ทานพื้
นบ้
าน และเป็
นสื่
อในการปะทะ
สั
มพั
นธ์
ทางวั
ฒนธรรม ลั
กษณะการบริ
หารงานของลิ
เกมี
๒ ลั
กษณะ คื
อ คณะเดี่
ยว และผสมโรง การแสดง
ลิ
เกในจั
งหวั
ดพิ
ษณุ
โลกจั
ดเป็
นศิ
ลปะของชาวบ้
านที่
มี
คุ
ณค่
า แต่
ปั
จจุ
บั
นศิ
ลปะนี้
เริ่
มลดความสํ
าคั
ญลงไป
เนื่
องจากมี
ผู้
นิ
ยมน้
อย จึ
งควรส่
งเสริ
ม อนุ
รั
กษ์
และเผยแพร่
เพื่
อมิ
ให้
สู
ญสลายไปจากวงการนาฏศิ
ลป์
ไทย
เฉิ
ดฉั
นท์
ดอกแก้
ว (๒๕๔๓) ศึ
กษาเรื่
อง “การวิ
เคราะห์
เนื้
อหาของลิ
เกลู
กบท” พบว่
รู
ปแบบและลี
ลาของลิ
เกลู
กบทมี
ฉั
นทลั
กษณ์
ที่
ถู
กต้
องตามหลั
กของกลอนลิ
เก แต่
บางบทไม่
ตรงกั
บ ฉั
นท
ลั
กษณ์
ทั้
งหมดเนื่
องจากกลอนลิ
เกเป็
นกลอนที่
ไม่
เคร่
งสั
มผั
ส เพี
ยงแต่
มี
เสี
ยงใกล้
เคี
ยงก็
ถื
อว่
าใช้
ได้
บางครั้
หากผู้
แสดง ขั
บร้
องกลอนสดก็
อาจจะหาคํ
าที่
มาสั
มผั
สได้
ไม่
ทั
นจึ
งต้
องใช้
เสี
ยงที่
ใกล้
เคี
ยงและบางบทมี
ลั
กษณะเป็
นกลอนหั
วเดี
ยว
สํ
าหรั
บการใช้
ภาษาของลิ
เกลู
กบทนั้
นผู้
แสดงเป็
นปฏิ
ภาณกวี
ที่
มี
ความ
เชี่
ยวชาญในด้
านการใช้
ภาษา มี
การเลื
อกสรรคํ
าไพเราะ ใช้
สํ
านวนโวหาร และกวี
โวหาร ได้
เหมาะสมกั
เนื้
อเรื่
อง มี
การใช้
ภาพพจน์
ทํ
าให้
ผู้
ชมได้
รั
บรสภาษา และเกิ
ดจิ
นตนาการ สํ
าหรั
บเนื้
อหาทางด้
านสั
งคม ผู้
แสดงสะท้
อนให้
เห็
นวิ
ถี
ชี
วิ
ตของคนไทย ในอดี
ตจนถึ
งปั
จจุ
บั
น ซึ่
งส่
วนใหญ่
จะเป็
นเรื่
องเกี่
ยวกั
บ ความเชื่
ค่
านิ
ยม การศึ
กษา การเมื
อง การปกครอง และอาชี
พของคนไทยได้
อย่
างชั
ดเจน