Page 19 - งานวิจัย - www.culture.go.th/research

Basic HTML Version

๑.๔ การวิ
เคราะห์
เนื้
อหา
ณรงค์
ชั
ย ปิ
ฎกรั
ชต์
. (๒๕๕๒ : ๑๕) กล่
าวถึ
งการวิ
เคราะห์
เนื้
อหาไว้
ว่
า เป็
นวิ
ธี
การลั
กษณะ
หนึ่
งที่
นํ
ามาใช้
ในการวิ
จั
ยเชิ
งคุ
ณภาพ โดยทั่
วไปแล้
วในทางสั
งคมและวั
ฒนธรรมที่
มี
การติ
ดต่
อสื่
อสารกั
ของประชาชนที่
ใช้
ถ้
อยคํ
าภาษาและที่
มี
ข้
อมู
ลงานเขี
ยน ข้
อมู
ลเอกสารใช้
วิ
ธี
การวิ
เคราะห์
เนื้
อหาอย่
างมี
ทิ
ศทางและเป็
นระบบโดยผ่
านเครื่
องมื
อที่
ช่
วยในการดํ
าเนิ
นการเก็
บรวบรวมข้
อมู
ล หรื
อสิ่
งที่
ปรากฏตาม
หลั
กฐานที่
ได้
จากศึ
กษางานภาคสนาม เช่
น ซี
ดี
วี
ซี
ดี
เครื่
องบั
นทึ
กเสี
ยง ภาพถ่
ายทั้
งประเภทที่
เป็
นภาพนิ่
และประเภทภาพเคลื่
อนไหว ฯลฯ วิ
ธี
การจั
ดกระทํ
าข้
อมู
ลด้
วยการจั
ดจํ
าแนกตามประเด็
น ตามประเภท
ของสาระที่
ได้
จากการรวบรวมข้
อมู
ลเป็
นเกณฑ์
ในการพิ
จารณา ทั้
งเชิ
งกว้
างและเชิ
งลึ
ก รวมทั้
งบริ
บทที่
ราย
ล้
อมกั
บประเด็
นที่
ศึ
กษานั้
นด้
วย
วิ
ธี
การที่
นํ
ามาสู่
การวิ
เคราะห์
นั้
น หลั
กการที่
จํ
าเป็
นคื
อการกํ
าหนดเกณฑ์
กํ
าหนดรู
ปแบบให้
ชั
ดเจนก่
อนการดํ
าเนิ
นงานวิ
เคราะห์
เพื่
อให้
เห็
นภาพเนื้
องานให้
มี
ทิ
ศทางของการลํ
าดั
บข้
อมู
ล การวิ
เคราะห์
ตี
ความของแต่
ละประเด็
นที่
มี
การคั
ดสรรโดยที่
นั
กวิ
จั
ยต้
องมี
ความเป็
นกลาง ไม่
ลํ
าเอี
ยง ต่
อข้
อมู
ลแต่
ละ
ข้
อมู
ล เพื่
อให้
ได้
เนื้
อหาสาระที่
มี
ความน่
าเชื่
อถื
อ เกณฑ์
หรื
อรู
ปแบบที่
กํ
าหนดขึ้
นก่
อนการวิ
เคราะห์
ต้
องมี
กรอบที่
ครอบคลุ
มความละเอี
ยดในการอธิ
บายความสั
มพั
นธ์
ความเหมื
อน และความแตกต่
างของเนื้
อหา
สาระที่
ศึ
กษาแต่
ละประเด็
น แต่
ละกลุ่
มสาระ ซึ่
งเกณฑ์
หรื
อรู
ปแบบที่
กล่
าวนี้
สามารถช่
วยให้
นั
กวิ
จั
ยค้
นพบ
คํ
าตอบในความซ้ํ
าซ้
อนของเนื้
อหานั้
การจํ
าแนกกลุ่
มเนื้
อหา ประเภท และชั้
นของข้
อมู
ลเป็
นสิ่
งจํ
าเป็
นสํ
าหรั
บการกํ
าหนดเป็
เกณฑ์
หรื
อรู
ปแบบที่
นํ
ามาใช้
เป็
นกรอบการวิ
เคราะห์
เนื้
อหา กรอบนี้
เป็
นวิ
ธี
การวิ
เคราะห์
ข้
อมู
ลที่
ดี
ที่
สุ
ดวิ
ธี
หนึ่
ง โดยเฉพาะข้
อมู
ลที่
กระจั
ดกระจายหรื
อสั
บสนระหว่
างข้
อมู
ลที่
มี
ความคล้
ายเหมื
อนและใกล้
เคี
ยงกั
การใช้
เครื่
องมื
อที่
น่
าเชื่
อถื
อและกํ
าหนดไว้
ล่
วงหน้
าจึ
งเป็
นกุ
ญแจสํ
าคั
ญที่
สามารถจั
ดกระทํ
าให้
ได้
ข้
อมู
ลตรง
ตามวั
ตถุ
ประสงค์
ของการวิ
จั
ยเรื่
องนั้
น ๆ
ผู้
วิ
จั
ยนํ
าแนวคิ
ดการวิ
เคราะห์
เนื้
อหามาใช้
ในการวิ
เคราะห์
ข้
อมู
ลเกี่
ยวกั
บลิ
เก โดยพิ
จารณา
จากหั
วข้
อเรื่
องที่
กํ
าหนดไว้
แล้
วจํ
าแนกเนื้
อหาออกเป็
นกลุ่
มตามกรอบ ทั้
งนี้
เพื่
อตอบคํ
าถามวิ
จั
ย และให้
สอดคล้
องวั
ตถุ
ประสงค์
ของวิ
จั
ยที่
ตั้
งไว้
๒. แนวคิ
ดเกี่
ยวกั
บวั
ฒนธรรม
๒.๑ ความหมายของวั
ฒนธรรม
พจนานุ
กรมฉบั
บราชบั
ณฑิ
ตยสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒. (๒๕๔๖ : ๑๐๕๘) ให้
ความหมายของ
วั
ฒนธรรม ไว้
ว่
า “สิ่
งที่
ทํ
าความเจริ
ญงอกงามให้
แก่
หมู่
คณะ เช่
น วั
ฒนธรรมไทย วั
ฒนธรรมในการแต่
กาย วิ
ถี
ชี
วิ
ตของหมู่
คณะ เช่
น วั
ฒนธรรมพื้
นบ้
าน วั
ฒนธรรมชาวเขา”
พระราชบั
ญญั
ติ
วั
ฒนธรรมแห่
งชาติ
พุ
ทธศั
กราช ๒๔๘๕ (กรมศิ
ลปากร. ๒๕๔๐ : ๙) ได้
ไห้
ความหมายเกี่
ยวกั
บวั
ฒนธรรมไว้
ดั
งนี้
“วั
ฒนธรรม หมายความว่
า ลั
กษณะที่
แสดงถึ
งความเจริ
ญงอกงาม
ความเป็
นระเบี
ยบเรี
ยบร้
อย ความกลมเกลี
ยวก้
าวหน้
าของชาติ
และศี
ลธรรมอั
นดี
งามของประชาชน”
สุ
พั
ตรา สุ
ภาพ (๒๕๓๖ : ๑๐๗) อธิ
บายความหมายของวั
ฒนธรรมสรุ
ปได้
ว่
า วั
ฒนธรรม มี
ความหมายครอบคลุ
มถึ
งทุ
กสิ่
งทุ
กอย่
างที่
แสดงออกถึ
งวิ
ถี
ชี
วิ
ตมนุ
ษย์
ในสั
งคมของกลุ่
มใดกลุ่
มหนึ่
ง หรื
สั
งคมใดสั
งคมหนึ่
ง มนุ
ษย์
ได้
คิ
ดสร้
างระเบี
ยบกฎเกณฑ์
วิ
ธี
การในการปฏิ
บั
ติ
การจั
ดระเบี
ยบ