• หน้าแรก
  • งานวิจัย
    • กรุงเทพมหานคร
    • ภาคเหนือ
    • ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
    • ภาคกลาง
    • ภาคใต้
  • กลุ่มงานวิจัยที่น่าสนใจ
    • กลุ่มงานวิจัยทั่วไป
    • กลุ่มงานวิจัยผ้า
    • กลุ่มงานวิจัยวัฒนธรรมวัฒนธรรมชนชาติไท และมรดกร่วมแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
  • ดาวน์โหลด
  • วารสารวิจัยทางวัฒนธรรม
Print

แนวทางการสืบสานวัฒนธรรมตาลเมืองเพชรที่เอื้อต่อวิถีชีวิตของชุมชนบ้านลาด อำเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี

ผู้วิจัย
กาญจนา บุญส่ง และคณะ
ปี
พ.ศ. ๒๕๕๔
กลุ่มงาน
กลุ่มงานวิจัยทั่วไป | งานวิจัยที่น่าสนใจ
ภาค
ภาคกลาง
จังหวัด
เพชรบุรี
รหัส
SP103
จำนวน
174 หน้า
PDF
(1876 Hits)
Ebook
เปิดอ่าน (1377 Hits)
บทคัดย่อ

การวิจัยเรื่อง แนวทางสืบสานวัฒนธรรมตาลเมืองเพชรที่เอื้อต่อวิถีชีวิตของชุมชนบ้านลาด อำเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี มีวัตถุประสงค์เป็นการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมเพื่อ ๑) ศึกษาศักยภาพของชุมชนอำเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรีเกี่ยวกับวัฒนธรรมตาลเมืองเพชร ๒) เพื่อศึกษาแนวทางในการสืบสานวัฒนธรรมตาลเมืองเพชร ในพื้นที่อำเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี ๓) จัดทำแผนสืบสานวัฒนธรรมตาลเมืองเพชร จำนวน ๑ ชุมชน ในอำเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี โดยใช้กระบวนการมีส่วนร่วม และ ๔ ) ให้ชุมชนดำเนินการตามแผนการสืบสานวัฒนธรรมตาลเมืองเพชร โดยการปฏิบัติการพัฒนาแบบมีส่วนร่วม ผู้ให้ข้อมูลหลัก ประกอบด้วย นายกเทศมนตรีและนายกองค์การบริหารส่วนตำบล จำนวน ๑๕ คน ปราชญ์ท้องถิ่น ๑๕ คน เกษตรกรผู้ทำตาลโตนด จำนวน ๓๖ คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ ประเด็นการสนทนากลุ่มแบบสัมภาษณ์ และแบบบันทึกการสังเกตแบบมีส่วนร่วม การวิเคราะห์ข้อมูลใช้การวิเคราะห์เชิงเนื้อหา

This study is the participatory research. The objectives of the research were: 1) to study the capability of local villagers in Banlat community to inherit the heritage of Muang Phetch palm culture 2) to study the cultural heritage of Muang Phetch palm contributing to Banlat community, Banlat district, Phetchaburi province 3) to make a plan about cultural heritage of Muang Phetch palm for a community in Banlat district, Phetchaburi province through the participatory process 4) to study the results of the plan. The key informants consisted of 15 mayors of municipality and district administrative organization, 15 local experts, 36 palm sugar makers. The research instruments were interview topics and participatory observation form. The data were analyzed by using the method of content analysis.

  • Voting
    • 1
    • 2
    • 3
    • 4
    • 5
    (3 votes)
  • Hits
    4411 views

มี 46 ผู้มาเยือน และ ไม่มีสมาชิกออนไลน์ ออนไลน์