Page 79 - งานวิจัย - www.culture.go.th/research

Basic HTML Version

๖๙
ได้
ไม่
หลากหลายนั
ก แต่
ถ้
าเป็
นปี่
พาทย์
มอญก็
จะบรรเลงเพลงได้
มากขึ้
น ปั
จจุ
บั
นนี้
ปี่
พาทย์
ลิ
เกพั
ฒนาขึ้
นมาก บรรเลงเพลงได้
หลากหลายรู
ปแบบ สมั
ยก่
อนบรรเลงเพลงไม่
มากนั
ก แล้
วต้
องให้
ลิ
เกร้
องเสร็
จถึ
งจะรั
บ แต่
สมั
ยนี้
ปี่
พาทย์
เหนื่
อยมาก รั
บภาระเยอะ
ต้
องบรรเลงตลอด คลอไปทุ
กบทบาทที่
ลิ
เกแสดง แล้
วก็
ต้
องนํ
าให้
ลิ
เกร้
อง เป็
นหลั
กให้
ลิ
เก จะร้
องดี
หรื
อไม่
ดี
ก็
อยู่
ที่
ดนตรี
ด้
วย นั
บว่
าปี่
พาทย์
มี
ความสํ
าคั
ญมากในการช่
วย
ส่
งเสริ
มลิ
เก ปี่
พาทย์
จะต้
องรู้
เรื่
องราวทุ
กบททุ
กตอนของการแสดง อย่
างไรก็
ตามในเมื่
ปี่
พาทย์
ดี
อยู่
แล้
วก็
อยากจะให้
ใส่
ใจในเรื่
องรายละเอี
ยดเล็
ก ๆ น้
อย ๆ แต่
ว่
าสํ
าคั
ญนั่
นก็
คื
อระบบเสี
ยงต้
องให้
ได้
ยิ
นเสี
ยงเครื่
องดนตรี
ทุ
กชิ้
นที่
บรรเลงอยู่
ลิ
เกจะดี
ไม่
ดี
อยู่
ที่
ดนตรี
ดนตรี
ไพเราะได้
ยิ
นทุ
กเสี
ยงครบ เหมื
อนเปิ
ดแผ่
นออกมาได้
ยิ
นทุ
กเสี
ยงทั้
งเสี
ยงระนาด
เอกใส เสี
ยงระนาดทุ้
มก็
เพราะ เสี
ยงฆ้
องก็
ได้
ยิ
น เสี
ยงปี่
ก็
พอดี
เสี
ยงออกมาอย่
างนี้
ก็
จะ
ทํ
าให้
ผู้
ชมผู้
ฟั
งรู้
สึ
กรื่
นหู
ลิ
เกนี่
ถ้
าปี่
พาทย์
ดี
ก็
ร้
องสบาย ปั
จจุ
บั
นคณะลิ
เกเขาถึ
งต้
องนํ
าปี่
พาทย์
ของตนเองไปบรรเลง ถ้
าเป็
นคณะที่
เขาพร้
อมนะ คื
อเรี
ยกว่
า รู้
หน้
าพาทย์
กั
(ถาวร สดแสงจั
นทร์
, สั
มภาษณ์
, ๓๑ มี
นาคม ๒๕๕๔)
...การบรรเลงในแต่
ละเพลงของวงจะอาศั
ยความพร้
อมเพรี
ยงเป็
นอย่
างมาก
ประกอบกั
บการใช้
ไหวพริ
บในการบรรเลง เพราะการบรรเลงดนตรี
ประกอบการแสดง
ลิ
เกไม่
เหมื
อนบรรเลงตามงานทั่
วไป จะต้
องคอยสั
งเกตผู้
แสดงในแต่
ละฉาก และใช้
เพลง
ให้
เหมาะสม เมื่
อก่
อนนี้
วงดนตรี
ประกอบการแสดงมี
เครื่
องดนตรี
น้
อยกว่
านี้
การบรรเลง
ก็
เรี
ยบง่
าย ไม่
โลดโผน ปั
จจุ
บั
นได้
เพิ่
มเครื่
องดนตรี
มากชิ้
นขึ้
น เช่
น ตะโพนมอญ เปิ
งมาง
คอก การบรรเลงเพลงก็
หลากหลายขึ้
(ปรี
ชา เชื้
อน้
อย, สั
มภาษณ์
, ๒ เมษายน ๒๕๕๔)
...ผมเป็
นผู้
เป่
าปี่
ประกอบการแสดงลิ
เก นอกจากจะเป่
าไปพร้
อมกั
บการบรรเลง
ของเครื่
องดนตรี
ชนิ
ดอื่
น ๆ แล้
ว บางช่
วงเวลาก็
จะต้
องบรรเลงเดี๋
ยว เช่
น เวลาลิ
เกโศกก็
เป่
าปี่
หรื
อขลุ่
ยเป็
นเพลงรํ
าลองโศกไปเรื่
อย ๆ ซึ่
งก็
ต้
องใส่
อารมณ์
สุ
นทรี
ย์
สํ
าเนี
ยงปี่
ต้
อง
ให้
อ่
อนหวาน หรื
ออาจเป็
นในลั
กษณะโหยหวนบ้
างตามบทบาทของการแสดงที่
ดํ
าเนิ
อยู่
แนวการบรรเลงของผมยึ
ดรู
ปแบบโบราณเอาไว้
และมี
การดั
ดแปลงผสมผสานให้
เหมาะสมกั
บการบรรเลงปี่
พาทย์
ทั้
งวง ผมถื
อว่
าดนตรี
มี
ความสํ
าคั
ญต่
อการแสดงลิ
เกมาก
เป็
นสิ่
งคู่
กั
นมาตั้
งแต่
โบราณ มี
ลิ
เกก็
ต้
องมี
ปี่
พาทย์
จะแยกจากกั
นไม่
ได้
ขณะที่
บรรเลงอยู่
ในการแสดงลิ
เกนั้
นผมรวมทั้
งนั
กดนตรี
ทุ
ก ๆ คนมี
ความตั้
งใจอย่
างเต็
มที่
และก็
ภู
มิ
ใจที่
มี
คนเห็
นคุ
ณค่
าของดนตรี
ไทย เชื่
อว่
าคนที่
มาดู
ลิ
เกนั้
นเขาย่
อมต้
องการฟั
งเสี
ยงดนตรี
ไทย
ด้
วย เพราะฉะนั้
นนั
กดนตรี
ทุ
กคนจึ
งใส่
ใจต่
อการบรรเลงในทุ
กช่
วงเวลาตั้
งแต่
เริ่
มต้
นจน
จบการแสดงลิ
เก...”
(สมชาย ลํ
าเจี
ยก, สั
มภาษณ์
, ๒ เมษายน ๒๕๕๔)