Page 46 - งานวิจัย - www.culture.go.th/research

Basic HTML Version

๓๖
ปั
ญหา อุ
ปสรรคในการแสดงลิ
เกและวิ
ธี
แก้
ไข แนวทางหรื
อวิ
ธี
การอนุ
รั
กษ์
และพั
ฒนาศิ
ลปะการแสดงลิ
เก
ให้
คงอยู่
สื
บไป เป็
นต้
การสั
มภาษณ์
แบบมี
โครงสร้
างนี้
ผู้
วิ
จั
ยออกแบบสั
มภาษณ์
เป็
น ๒ ส่
วน คื
อ ส่
วนที่
หนึ่
เป็
นข้
อมู
ลเกี่
ยวกั
บผู้
ตอบแบบสั
มภาษณ์
ส่
วนที่
สองเป็
นประเด็
นคํ
าถาม หลั
งจากนั้
นนํ
าไปให้
ผู้
เชี่
ยวชาญ
ด้
านการแสดงลิ
เกและการใช้
ภาษาไทย จํ
านวน ๓ ท่
านช่
วยพิ
จารณาตรวจสอบความถู
กต้
อง เหมาะสม
แล้
วนํ
ามาปรั
บแก้
ไขตามคํ
าแนะนํ
าของผู้
เชี่
ยวชาญ หลั
งจากนั้
นจึ
งนํ
าไปใช้
เป็
นเครื่
องมื
อในการสั
มภาษณ์
บุ
คคลที่
เกี่
ยวข้
อง
สํ
าหรั
บผู้
เชี่
ยวชาญด้
านการแสดงลิ
เกและการใช้
ภาษาไทย ๓ ท่
าน ได้
แก่
๑. นายบุ
ญเลิ
ศ นาจพิ
นิ
จ ศิ
ลปิ
นแห่
งชาติ
สาขาศิ
ลปะการแสดง (ลิ
เก) ประจํ
าปี
พ.ศ.
๒๕๓๙
๒. นายวิ
โรจน์
วี
ระวั
ฒนานนท์
ศิ
ลปิ
นลิ
เก และผู้
ใช้
ภาษาไทยดี
เด่
น ประจํ
าปี
๒๕๕๑
ของกรมส่
งเสริ
มวั
ฒนธรรม
๓. นางสาวระพี
พรรณ สิ
ทธิ
สาร ศิ
ลปิ
นลิ
เก และข้
าราชการครู
วิ
ทยาลั
ยนาฏศิ
ลป
๒.๒ การสั
มภาษณ์
แบบไม่
มี
โครงสร้
าง (Non-Structure Interview) เป็
นคํ
าถามที่
ผู้
วิ
จั
ไม่
ได้
กํ
าหนดประเด็
นไว้
ล่
วงหน้
า แต่
มี
การเพิ่
มเติ
มจากคํ
าถามที่
ตั้
งไว้
แล้
วเพื่
อให้
ได้
รายละเอี
ยดในสิ
งที่
ต้
องการสมบู
รณ์
ครบถ้
วนมากขึ้
๓. แบบสนทนากลุ่
ม (Focus Group Discussion) ผู้
วิ
จั
ยคั
ดเลื
อกกลุ่
มบุ
คคล ๒ กลุ่
มได้
แก่
กลุ่
มศิ
ลปิ
นลิ
เก และกลุ่
มประชาชนที่
เป็
นผู้
ชม มาร่
วมสนทนา แสดงความคิ
ดเห็
นในประเด็
นต่
าง ๆ ที่
เกี่
ยวข้
องกั
บวั
ตถุ
ประสงค์
และขอบเขตด้
านเนื้
อหาของการวิ
จั
ย ทั้
งนี้
เพื่
อศึ
กษาความคิ
ดเห็
นและเสนอ
แนวทางในการอนุ
รั
กษ์
และพั
ฒนาด้
านการแสดงลิ
เก การนํ
าปรั
ชญาเศรษฐกิ
จพอเพี
ยงมาประยุ
กต์
ใช้
รวมทั้
งข้
อเสนอแนะอื่
น ๆ ที่
เป็
นประโยชน์
ต่
อการวิ
จั
ยซึ่
งแตกต่
างไปจากข้
อมู
ลที่
ได้
รั
บจากการสั
มภาษณ์
รายบุ
คคล
๒. การดํ
าเนิ
นการเก็
บรวบรวมข้
อมู
ผู้
วิ
จั
ยดํ
าเนิ
นการเก็
บรวบรวมข้
อมู
ลตามขั้
นตอน ดั
งนี้
๑. การเก็
บข้
อมู
ลจากเอกสารและงานวิ
จั
ยที่
เกี่
ยวข้
อง (Documentary Research) โดย
รวบรวมข้
อมู
ลความรู้
จากหนั
งสื
อ เอกสาร ตํ
ารา บทความ งานวิ
จั
ย วิ
ทยานิ
พนธ์
สื่
อวี
ซี
ดี
ภาพถ่
าย และสื่
อิ
นเทอร์
เน็
สํ
าหรั
บแหล่
งข้
อมู
ลที่
ผู้
วิ
จั
ยใช้
ดํ
าเนิ
นการเก็
บข้
อมู
ลได้
แก่
ห้
องสมุ
ดวิ
ทยาลั
ยนาฏศิ
ลป
สุ
พรรณบุ
รี
หอสมุ
ดแห่
งชาติ
จั
งหวั
ดสุ
พรรณบุ
รี
เฉลิ
มพระเกี
ยรติ
สํ
านั
กหอสมุ
ดมหาวิ
ทยาลั
ยนเรศวร
จั
งหวั
ดพิ
ษณุ
โลก
๒. การเก็
บรวบรวมข้
อมู
ลภาคสนาม (Field Research) โดยใช้
วิ
ธี
การสั
งเกต สั
มภาษณ์
และ
การสนทนากลุ่
มกั
บกลุ่
มเป้
าหมายโดยตรง เพื่
อให้
ได้
ข้
อมู
ลที่
ถู
กต้
อง ชั
ดเจน และเป็
นประโยชน์
สํ
าหรั
กลุ่
มเป้
าหมายที่
ใช้
ในการวิ
จั
ยครั้
งนี้
ได้
แก่
หั
วหน้
าคณะ ศิ
ลปิ
นลิ
เก ผู้
บรรเลงดนตรี
นั
กวิ
ชาการ เจ้
าภาพ
ผู้
จั
ดทํ
าหรื
อจั
ดจํ
าหน่
ายวี
ซี
ดี
การแสดงลิ
เก และประชาชนทั่
วไป สถานที่
ที่
ผู้
วิ
จั
ยดํ
าเนิ
นการเก็
บข้
อมู
ภาคสนาม ได้
แก่
บ้
านของกลุ่
มเป้
าหมาย และวั
ดต่
าง ๆ ซึ่
งเป็
นสถานที่
จั
ดงานที่
มี
การแสดงลิ
เก โดย
สถานที่
เหล่
านี้
อยู่
ในเขตพื้
นที่
จั
งหวั
ดสุ
พรรณบุ
รี
และจั
งหวั
ดอ่
างทอง