Page 32 - งานวิจัย - www.culture.go.th/research

Basic HTML Version

๒๒
๓.๓ ความสั
มพั
นธ์
ของลิ
เกกั
บสั
งคม
ผอบ โปษะกฤษณะ, และสุ
วรรณี
อุ
ดมผล (๒๕๒๓ : ๔๐๑ - ๔๐๖) กล่
าวถึ
งความสั
มพั
นธ์
ของลิ
เกกั
บสั
งคม สรุ
ปได้
ดั
งนี้
ลิ
เกเป็
นมหรสพระดั
บชาวบ้
าน
ในสมั
ยก่
อนมหรสพที่
ชาวบ้
านจะหาดู
ได้
มี
น้
อย ลิ
เกเป็
นมหรสพที่
ชาวบ้
านจะดู
ได้
โดยไม่
ต้
อง
เสี
ยเงิ
นมาก หรื
อไม่
เสี
ยเงิ
นเลย ประกอบกั
บลิ
เกเป็
นการแสดงที่
มี
ลั
กษณะและค่
านิ
ยมแบบไทย ๆ ถู
กรสนิ
ยม
ของผู้
ดู
ถ้
อยคํ
า ทํ
านองเพลงไม่
ซั
บซ้
อน เข้
าใจง่
าย การแสดงเป็
นแบบเปิ
ดจึ
งเป็
นที่
นิ
ยมมากในหมู่
ชาวบ้
าน
มาตั้
งแต่
สมั
ยรั
ชกาลที่
๕ และยั
งสื
บต่
อมาจนทุ
กวั
นนี้
แต่
ลิ
เกไม่
ได้
รั
บการยกย่
องเนื่
องด้
วยลิ
เกในสมั
ยรั
ชกาล
ที่
๕ มี
ลิ
เกสิ
บสองภาษาและลิ
เกลํ
าตั
ด ซึ่
งเป็
นการละเล่
นที่
เล่
นกั
นในหมู่
ชาวบ้
าน สนุ
กสนานแบบชาวบ้
าน
ภาษาที่
ใช้
ก็
เป็
นแบบชาวบ้
าน โดยเฉพาะลิ
เกลํ
าตั
ด ซึ่
งเป็
นการแสดงที่
จะร้
อง (ลํ
า) ที่
จะต้
อง “ตั
ด” กั
เชื
อดเฉื
อนกั
นด้
วยคารม บางที
ก็
ออกเป็
นเรื่
องแข่
งกั
น จึ
งต้
องใช้
ภาษาที่
บางคนว่
าหยาบคาย บางที
ใช้
คํ
เปรี
ยบเที
ยบคํ
าสองแง่
สองมุ
มวกไปในเรื่
องเกี่
ยวกั
บเพศ ซึ่
งก็
เล่
นกั
นเฉพาะหมู่
และเฉพาะแบบ ส่
วนลิ
เกแบบ
อื่
น ลิ
เกสมั
ยหลั
ง ๆ มาก็
ไม่
ปรากฏ ด้
วยเหตุ
นี้
ลิ
เก จึ
งถู
กมองในแง่
“ต่ํ
า” และไม่
ได้
รั
บการยกย่
อง
สิ่
งจู
งใจให้
ลิ
เกเป็
นที่
นิ
ยมในชนหมู่
มาก
ลิ
เกเป็
นการแสดงที่
เข้
าถึ
งจิ
ตใจประชาชน เพราะมี
ลั
กษณะเฉพาะเป็
นของตนเอง
๑. การนํ
าเรื่
อง ก่
อนแสดงมี
การออกแขกนํ
าเรื่
องและตั
วแสดงครั้
งแรกจะมี
การแนะนํ
าตั
และเล่
าเรื่
องที่
เกี่
ยวข้
อง ผู้
แสดงที่
ออกตั
วครั้
งแรกจะแนะนํ
าตั
วและเรื่
องที่
เกี่
ยวข้
อง ผู้
ดู
ผู้
ชมจะดู
เมื่
อไรตอน
ใดก็
เข้
าใจเรื่
อง
๒. เรื่
องที่
นํ
ามาเล่
น เรื่
องที่
นํ
ามาเล่
นถู
กรสนิ
ยมของชาวบ้
าน ทั้
งเรื่
องที่
นํ
ามาจากละคร และ
เรื่
องที่
แต่
งขึ้
นใหม่
กล่
าวคื
๒.๑ มี
หลายรส รั
ก โศก รบ เสี
ยดสี
ประชดประชั
๒.๒ แสดงค่
านิ
ยมของคนไทย เช่
นเรื่
องเทิ
ดทู
นชาติ
ศาสนา พระมหากษั
ตริ
ย์
๒.๓ แสดงขนบประเพณี
ความเชื่
อต่
าง ๆ ฯลฯ
๒.๔ แทรกคติ
ธรรม
๒.๕ มี
เรื่
องเหนื
อมนุ
ษย์
ทํ
าให้
เกิ
ดความตื่
นเต้
๓. บทกลอน มี
ลั
กษณะเฉพาะ คื
อใช้
คํ
าธรรมดาที่
ใช้
ประจํ
าวั
น ลงสั
มผั
สแบบกลอนบทละคร
ผสมเพลงพื้
นเมื
อง ทํ
าให้
จํ
าง่
าย เมื่
อเกิ
ดกลอนรานิ
เกลิ
ง ซึ่
งเป็
นกลอนเอกลั
กษณ์
ของลิ
เกมี
การส่
งสั
มผั
ท้
ายเร้
าอารมณ์
ให้
ติ
ดตาม
๔. ทํ
านอง เพลงและจั
งหวะ เพลง เพลงลิ
เกเลื
อกเพลงที่
จํ
าง่
าย เ วลา เดิ
นเ รื่
อง
มี
ลั
กษณะเฉพาะ มี
ทั้
งเพลงสองชั้
น และเพลงชั้
นเดี
ยว ร้
องง่
าย จํ
าง่
าย โดยเฉพาะเพลงชั้
นเดี
ยวเป็
นเพลง
เนื้
อเต็
ม (ไม่
มี
เอื้
อน) ที่
มี
จั
งหวะสั้
น คื
อ หงส์
ทอง สองไม้
เพลงลิ
เกนี้
พอได้
ยิ
นเสี
ยงใคร ๆ ก็
รู้
จั
ก เมื่
อมี
เพลง
รานิ
เกลิ
งยิ่
งแพร่
หลายมากขึ้
นเพราะจั
งหวะเพลงยิ่
งเร้
าใจให้
ติ
ดตาม ด้
วยเหตุ
นี้
จึ
งทํ
าให้
เพลงลิ
เกแพร่
หลาย
ไปในบุ
คคลทุ
กระดั
บชั้
นในเวลาต่
อมา