Page 29 - งานวิจัย - www.culture.go.th/research

Basic HTML Version

๑๙
กรมศิ
ลปากร (มปป. : ๘๗ – ๘๘) จํ
าแนกหมวดหมู่
ภู
มิ
ปั
ญญาและเทคโนโลยี
พื้
นฐานของ
ไทยซึ่
งมี
มาตั้
งแต่
โบราณและสื
บทอดกั
นมาจนสามารถรั
กษาเผ่
าพั
นธุ์
และบ้
านเมื
องมาได้
นั้
น สรุ
ปได้
ดั
งนี้
๑. ภู
มิ
ปั
ญญาและเทคโนโลยี
ด้
านเผ่
าพั
นธุ์
และการดํ
ารงชี
พ ได้
แก่
หมวดอาหาร การถนอม
อาหาร เสื้
อผ้
า ยารั
กษาโรค บ้
านเรื
อนที่
อยู่
อาศั
๒. ภู
มิ
ปั
ญญาทางภาษาและการสื่
อความหมาย
ได้
แก่
การพู
ด การอ่
าน การเขี
ยน
ฐานั
นดร
๓. ภู
มิ
ปั
ญญาด้
านศาสนาและจริ
ยธรรม
๔. ภู
มิ
ปั
ญญาด้
านศิ
ลปะการก่
อสร้
างบ้
านเรื
อน
๕. ภู
มิ
ปั
ญญาด้
านสั
งคม ประเพณี
และวิ
ถี
ชี
วิ
จากการศึ
กษาเรื่
องประเภทของภู
มิ
ปั
ญญาดั
งกล่
าว ผู้
วิ
จั
ยนํ
ามาเป็
นแนวทางในการ
พิ
จารณาองค์
ความรู้
ด้
านภู
มิ
ปั
ญญาในการแสดงลิ
เก โดยแบ่
งได้
ดั
งนี้
๑. ภู
มิ
ปั
ญญาทางภาษา
๒. ภู
มิ
ปั
ญญาด้
านนาฏศิ
ลป์
๓. ภู
มิ
ปั
ญญาด้
านเพลงและดนตรี
๔. ภู
มิ
ปั
ญญาด้
านการแต่
งกาย แต่
งหน้
๕. ภู
มิ
ปั
ญญาด้
านเวที
ฉาก แสงและเสี
ยง
๓. แนวคิ
ดเกี่
ยวกั
บลิ
เก
๓.๑ ความหมายและประวั
ติ
ความเป็
นมาของลิ
เก
พจนานุ
กรมฉบั
บราชบั
ณฑิ
ตยสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒ (๒๕๔๖ : ๑๐๑๓) ให้
ความหมายของ
ลิ
เก ว่
า “การแสดงชนิ
ดหนึ่
งมาจากชาวมลายู
เรี
ยก ยี่
เก ก็
มี
” ส่
วนความหมายของคํ
าว่
า ยี่
เก นั้
พจนานุ
กรมฉบั
บราชบั
ณฑิ
ตยสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒ (๒๕๔๖ : ๙๐๗) ให้
ความหมายว่
า “ภาษาปากของลิ
เก”
ยั
งมี
คํ
าอี
กคํ
าหนึ่
งที่
หมายถึ
ง ลิ
เก คื
อคํ
าว่
า “นาฏดนตรี
” (ราชบั
ณฑิ
ตยสถาน. ๒๕๔๖ : ๕๗๖)
นงค์
นุ
ช ไพรพิ
บู
ลยกิ
จ (๒๕๔๒ : ๑๒) กล่
าวถึ
งที่
มาของคํ
าว่
าลิ
เก ไว้
ว่
า “ลิ
เก เริ่
มใช้
ครั้
งแรก
เมื่
อใดไม่
ปรากฏแน่
ชั
ด แต่
จากหลั
กฐานเก่
าที่
สุ
ดเท่
าที่
ค้
นพบปรากฏว่
า พระบาทสมเด็
จพระมงกุ
ฎเกล้
เจ้
าอยู่
หั
วทรงใช้
คํ
าว่
า ลิ
เก (Like) ในพระราชอรรถาธิ
บายละครไทย เป็
นภาษาอั
งกฤษเมื่
อ พ.ศ. ๒๔๕๔
หลั
งจากนั้
นมาคํ
าว่
า ลิ
เก ก็
กลายเป็
นคํ
าที่
ใช้
กั
นแพร่
หลายในภาษาเขี
ยน ส่
วนคํ
าว่
า ยี่
เก ยั
งคงใช้
ในการพู
ดอยู่
ส่
วนคํ
าว่
า นาฏดนตรี
เป็
นคํ
าที่
กํ
าหนดให้
ใช้
ในสมั
ยจอมพล ป.พิ
บู
ลสงคราม โดยมี
ประกาศใช้
พระราชกฤษฎี
กากํ
าหนดวั
ฒนธรรมทางศิ
ลปวั
ฒนธรรมเกี่
ยวกั
บการแสดงละครใน พ.ศ. ๒๔๘๕
ให้
ใช้
คํ
าว่
า นาฏดนตรี
แทนคํ
าว่
า ลิ
เก แต่
ไม่
เป็
นที่
นิ
ยม คํ
านี้
จึ
งสู
ญไปเมื่
อสิ้
นยุ
คจอมพล ป. พิ
บู
ลสงคราม
ปั
จจุ
บั
นยั
งคงใช้
คํ
าว่
า ลิ
เก กั
นอย่
างแพร่
หลายและเป็
นที่
เข้
าใจกั
นโดยทั่
วไป
ม.ร.ว.คึ
กฤทธิ์
ปราโมช. (๒๕๑๕ : ๙๕ – ๙๖) กล่
าวถึ
งประวั
ติ
ความเป็
นมาของลิ
เกไว้
สรุ
ได้
ดั
งนี้
ลิ
เก เริ่
มมี
การแสดงในช่
วงปลายสมั
ยรั
ชกาลที่
๔ ลงมาจนถึ
งต้
นรั
ชกาลที่
๕ คํ
าว่
า “ลิ
เก”
มาจากภาษาเปอร์
เซี
ยว่
า “ดิ
เกร์
” คื
อการร้
องเพลงสวดสรรเสริ
ญพระเจ้
าของแขกเจ้
าเซ็